ม้วนพลาสติกป้องกันไฟฟ้าสถิตย์
นอกจากทางเราสามารถผลิตเป็นถุงพลาสติป้องกันไฟฟ้าสถิตตามขนาดและความหนารวมถึงสีต่างๆที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าแล้ว ทางเรายังสามารถผลิตเป็นม้วนพลาสติกป้องกันไฟฟ้าสถิตได้ด้วย โดยสามารถผลิตได้หน้ากว้างสูงสุดถึง 5 เมตร (2.5เมตร ผ่าหนึ่งข้างกางออกเป็น 5 เมตร)
Continue reading “ม้วนพลาสติกป้องกันไฟฟ้าสถิตย์”การถ่ายเทประจุไฟฟ้า
วัตถุยิ่งเรียงตัวอยู่ห่างกันในมากเท่าไหร่ อันที่อยู่สูงกว่าจะได้รับประจุบวกและประจุลบจะลดลง เมื่อดูรายการ tribo-electric ด้านล่างจะเห็นได้ว่าการหวีผมด้วยหวีพลาสติกจะทำให้เกิดประจุบวกกับเส้นผมและหวีจะกลายเป็นประจุลบ หรือปรากฎการณ์ธรรมชาติอย่างฟ้าผ่า คือการถ่ายเทประจุไฟฟ้าที่สะสมในก้อนเมฆกับพื้นดิน ซึ่งจะเห็นว่าระยะการเรียงตัวยิ่งห่างกันมากเท่าไร ความรุนแรงก็จะเพิ่มมากขึ้น
Continue reading “การถ่ายเทประจุไฟฟ้า”ทำไมช่วงหน้าหนาวจึงทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตได้ง่าย?
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่หน้าหนาว อากาศเริ่มแห้งและเย็นลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือและอีสานของประเทศไทย ซึ่งจะได้รับอิทธิพลความกดอากาศสูง (อุณหภูมิต่ำ) จากทางซีกโลกเหนือมากกว่าภาคอื่นๆ
อีกหนึ่งปรากฏการณ์ธรรมชาติอันนึงที่เราอาจจะได้เจอกันบ่อยๆคือไฟฟ้าสถิตย์กับข้าวของเครืองใช้ต่างๆเช่น เวลาเดินใกล้กับคนข้างๆ หรือตอนเข็นรถเข็นในห้างสรรพสินค้า
คุณก็น่าจะทราบดีว่าการปล่อยไฟฟ้าสถิตนั้นอันตรายเพียงใด เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยความสะดวกสบายและแม้แต่ผลผลิตของคุณซึ่งได้รับอิทธิพลโดยตรงจากปริมาณความชื้นในอากาศหรือที่เรียกว่าความชื้นสัมพัทธ์ภายในสภาพแวดล้อมภายในอาคาร การใช้เครื่องทำความชื้นแบบระเหยหรือระบบควบคุมสภาพอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงอื่น ๆ สามารถช่วยลดความเสี่ยงได้
เหตุใดอากาศแห้งหรือเมื่อความชื้นต่ำจึงทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต? มาดูรายละเอียดเรื่องนี้กัน
Continue reading “ทำไมช่วงหน้าหนาวจึงทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตได้ง่าย?”Anti-Static Apron_เอี๊ยมพลาสติกกันไฟฟ้าสถิต
สำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมและห้องปฏิบัติการ
ผ่านกระบวนการผลิตมาตรฐาน มีความหนาแน่น ทนต่อแรงกระแทก และแรงดึงสูง
ผ้ากันเปื้อนช่วยป้องกันสารเคมีเบื้องต้น และคราบน้ำมัน ป้องกันการระคายเคืองผิว
จะรู้ได้ไงว่าเป็นถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตย์
บ่อยครั้งที่ได้รับคำถามจากลูกค้ามีการสั่งซื้อถุงพลาสสติกป้องกันไฟฟ้าสถิตซึ่งหลายคนก็มักจะหลงประเด็นไปคุยเรื่องทางกายภาพคือความกว้างความยาวความหนาหรือสีของถุงเป็นหลัก ทั้งที่หัวใจสำคัญของงานถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตก็คือสมบัติในการป้องกันไฟฟ้าสถิตสมชื่อนั่นเอง
Continue reading “จะรู้ได้ไงว่าเป็นถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตย์”ถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตคือ?
วันนี้ผมอยากมาแชร์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับถุงพลาสติกแบบที่มีคุณสมบัติช่วยป้องกันไฟฟ้าสถิต คิดว่าหลายท่านเมื่อสมัยเด็กเด็กคงจะเคยนำไม้บรรทัดพลาสติกมาถูถูกับเส้นผมบนศรีษะของเราจากนั้นไม้บรรทัดก็จะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือสามารถดูดเศษกระดาษชิ้นเล็กๆขึ้นมาได้เป็นที่สุขสนานเมื่อวัยเด็ก หรือเมื่อฝนตกฟ้าคะนองมีเมฆมากเมื่อเมฆเคลื่อนตัวเสียดสีกันก็จะเกิดการสะสมของประจุไฟฟ้าและเมื่อมากพอก็จะเกิดเป็นปรากฏการณ์ฟ้าผ่าขึ้นมา
แต่ตอนนั้นเราอาจจะยังไม่รู้ว่านั่นคือปรากฏการณ์ของไฟฟ้าสถิต
The Difference Type of Anti-Static Bag
ความแตกต่างของถุงป้องกันไฟฟ้าสถิต?
การผลิตการขนส่งและการจัดส่งแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์แผงแบนเมนบอร์ด ,ฮาร์ดไดรฟ์ ,ไมโครชิพและอื่น ๆ ต้องใช้ถุงที่มีการป้องกันด้วย ESD ที่มีการควบคุมการเกิดไฟฟ้าสถิต แต่ปัญหาความสับสนของคำศัพท์ที่ใช้เรียกถุงแต่ละประเภทระหว่าง anti-static, static-shielding และ static dissipative bags ซึ่งแต่ละชนิดทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าผิดพลาดส่งผลถึงการจัดการที่ไม่เหมาะสมและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความเสียหายได้
สารบัญ
ถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตทำมาจากอะไร?
ความแตกต่างระหว่างถุง Anti-Static และถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตย์คืออะไร?
ความหมายของ Anti-Static คืออะไร? ถุงแอนตี้สีชมพูหรือสีฟ้าปลอดภัยหรือไม่?
เป็นถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตเหมือนกับถุงเก็บฝุ่นแบบสถิต?
ถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตทำมาจากอะไร?
ถุงแบบ Dissipative แบบ
สิ่งที่เป็นตัวนำถุงและสิ่งที่พวกเขาทำจาก?
ความแตกต่างระหว่าง Metal-In และ Metal-Out ESD Shielding Bags
ข้อกำหนดการบรรจุและการจัดการสำหรับการปฏิบัติตามข้อกำหนด ANSI / ESD Continue reading “The Difference Type of Anti-Static Bag”
ถุงป้องกันไฟฟ้าสถิตย์กับวัตถุไวไฟ
คุณสมบัติของพลาสติกป้องกันไฟฟ้าสถิตย์
เนื่องเป็นการเติมการปรุงแต่งเพื่อปรับสภาพค่าความต้านทานผิวของพลาสติกให้ลดต่ำลงแบบชั่วคราว ดังนั้นค่าความต้านทานผิวจะ ค่อยๆลดค่าและหมดไปภายใน 6เดือน)
-ค่าความต้านทานพื้นผิว (Surface Resistivity) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10^11 โอห์ม
-ค่าประจุไฟฟ้าสถิต < 100 โวลต์
-เป็นฟิล์มพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ (LDPE)
-ผิวฟิล์มมีความมัน (Oily)และถ้าความหนาน้อยๆเช่นต่ำกว่า 0.05mm/ด้าน อาจเกิดอาการ Wet Blocking ค่อนข้างสูง จึงแนะนำที่ความหนามากกว่า 0.05mm ขึ้นไป
-ค่าเวลาในการลดประจุไฟฟ้าสถิต (Static Decay Time) ประมาณ 24 ชั่วโมง หลังการผลิต
-ค่าความต้านทานพื้นผิวขึ้นกับอุณหภูมิ(temperature)และความชื้นสัมพัทธ์(Humidity) จากสิ่งแวดล้อม
-ผ่านการตรวจสอบสารต้องห้ามตามมาตรฐาน RoHS โดย SGS(Thailand)